อาจารย์ประจำ
พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร.
สังกัด : วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนราม
สถานที่ทำงาน : ภาควิชาพระพุทธศาสนา ชั้น M หรือ
สถาบันศูนย์อาเซียนศึกษา
คณะพุทธศาสตร์ โซน D อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗๙ หมู่ที่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐
เบอร์ติดต่อที่ทำงาน : ๐๓๕ – ๒๔๘ -๐๙๖
Email : –
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ :
–
ตำแหน่งทางบริหาร :
ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา
ตำแหน่งวิชาการ :
รองศาสตราจารย์
ผู้เชี่ยวชาญ :
–
การสอน :
อาจารย์ประจำภาควิชาพระพุทธศาสนา
ประวัติการศึกษาและการทำงาน
การศึกษาทางธรรม
เปรียญธรรม ๙ ประโยค
การศึกษาทางโลก
-พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
-ศศ.ม. (พัฒนาสังคม) พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
-พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เชียวชาญ/Proficiency
ประสบการณ์ทางวิชาการ/Academic Experiences
การบรรยาย ระดับปริญญาตรี
– หลักและทฤษฎีทางสังคมวิทยา
– พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม
– ปัญหาและมาตรการทางสังคม
– การสังคมสงเคราะห์ในพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น
– พุทธธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
– วรรณคดีบาลีศึกษา
– พระไตรปิฎกศึกษา
– พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
– พระวินัยปิฎก
– ศาสนากับสถานภาพสตรี
– หลักธรรมในพระพุทธศาสนา
– พุทธปรัชญาเบื้องต้น
– บาลีเสริม นาม-อัพยยศัพท์
– บาลีเสริม อาขยาดขกิตก์
– พระอภิธรรมปิฎก
– การปกครองคณะสงฆ์ไทย
– วิสุทธิมรรคศึกษา
– พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
– การพัฒนาจิตตามหลักพระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่
– พระพุทธศาสนากับสตรี
– แต่งแปลบาลี
– พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์
– พุทธศิลปะ
– แปลบาลีเป็นไทยและไทยเป็นบาลี ๓
การบรรยาย ระดับปริญญาโท
– การใช้ภาษาบาลี ๑
-การใช้ภาษาบาลี ๒
– พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์
– ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ
– พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์
– พระไตรปิฎกวิเคราะห์
– สัมมนาวิทยานิพนธ์
– พระวินัยปิฎกวิเคราะห์
การบรรยาย ระดับปริญญาเอก
– การใช้ภาษาบาลี ๑
– การใช้ภาษาบาลี ๒
– ศึกษาเฉพาเรื่องในพระวินัยปิฎก
– ศึกษาเฉพาะเรื่องในพระสุตตันตปิฎก
– ศึกษาเฉพาะเรื่องในพระอภิธรรมปิฎก
สิ่งตีพิมพ์ / Publication
หนังสือ :
– 2561, พุทธศิลป์พุทธชินราช ประวัติและพัฒนาการพระพุทธศาสนาในจังหวัดพิษณุโลกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
– 2563, พุทธทาสภิกขุ : การศึกษาวิเคราะห์ และการตีความคำว่า“ธรรม” (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ)
– 2563, พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๓) จำนวน ๖๕๕ หน้า.
– 2564, พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๔๐๑ หน้า.
– 2564,พุทธศิลป์ พระพุทธชินราช: ประวัติและพัฒนาการทางพระพุทธศาสนา(ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๖๒๖ หน้า.
สิ่งตีพิมพ์ / Publication (Artical)
บทความ :
– (๒๕๖๒). การพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในจังหวัดลำปาง, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น, Law and Local Society Journal, Vol. 3 (1) (January – June 2019), หน้า ๙๕-๑๑๗.
– (๒๕๖๑). “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและบทบาทองค์กรทางศาสนา พุทธคริสต์”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น, ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๓๐๗-๓๒๐.
– (๒๕๖๒). “การศึกษาโครงสร้างคัมภีร์ทีฆนิกายสีลขันธวรรค ในแง่ของศีลและพรต”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น, ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๖๕-๗๙.
– “พุทธศิลป์ : พุทธชินราช ประวัติและพัฒนาการทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดพิษณุโลก สมัยสุโขทัย”. บทความวิจัย. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ ใคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๐), หน้า ๖๒-๗๔.
– “ศาสนาพุทธกับโลกสมัยใหม่ : สตรีกับศาสนา”.บทความวิชาการ.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม, ๒๕๖๑), หน้า ๑๒๗-๑๓๘.
– “หลักสิทธิมนุษยชนตามหลักในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท”.บทความวิจัย.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๑, (มกราคม-เมษายน, ๒๕๖๑), หน้า ๙๘-๑๐๘.
– “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน”. บทความวิชาการ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๗ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๓, หน้า ๓๑๘-๓๒๙.
-พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.และคณะ “รูปแปบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในสถาบันอุดมศึกษา”. บทความวิชาการ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๙ ฉบับ ๕ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๔), หน้า ๑-๑๑.
-พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ และพระมหาชาติชาย ปญฺญาวชิโร, “บทบาทพุทธศิลปะในวิถีการดำเนินชีวิตของประชาคมอาเซียน”,วารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓), หน้า ๕๙-๘๔.
วิจัย / Research
วิจัย
– 2561, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาโครงสร้างคัมภีร์ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ในแง่ของศีลและพรต” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๑ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จำนวน ๒๕๘ หน้า.
– 2562, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๒ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จำนวน ๒๔๘ หน้า.
– 2563, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร. งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาคนในชุมชนชาวพุทธในยุคปัจจุบัน” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๓ (ผู้ร่วมโครงการวิจัย), จำนวน ๓๔๐ หน้า
บทความวิจัย :
– 2561, “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและบทบาทองค์กรทางศาสนา พุทธคริสต์”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น, ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๓๐๗-๓๒๐.
– 2561, “ศาสนาพุทธกับโลกสมัยใหม่ : สตรีกับศาสนา”.บทความวิชาการ.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม, ๒๕๖๑), หน้า ๑๒๗-๑๓๘.
– 2561,“หลักสิทธิมนุษยชนตามหลักในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท”.บทความวิจัย.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๑, (มกราคม-เมษายน, ๒๕๖๑), หน้า ๙๘-๑๐๘.
– 2562. “การศึกษาโครงสร้างคัมภีร์ทีฆนิกายสีลขันธวรรค ในแง่ของศีลและพรต”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น, ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๖๕-๗๙.
– 2562, “การพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในจังหวัดลำปาง”, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น, Law and Local Society Journal, Vol. 3 (1) (January – June 2019), หน้า ๙๕-๑๑๗.
– 2563, “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน”. บทความวิชาการ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๗ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๓, หน้า ๓๑๘-๓๒๙.
– 2563, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ และพระมหาชาติชาย ปญฺญาวชิโร, “บทบาทพุทธศิลปะในวิถีการดำเนินชีวิตของประชาคมอาเซียน”,วารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓), หน้า ๕๙-๘๔.
– 2564, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.และคณะ “รูปแปบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในสถาบันอุดมศึกษา”. บทความวิชาการ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๙ ฉบับ ๕ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๔), หน้า ๑-๑๑.
– 2564, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.และคณะ “การพัฒนาคนในชุมชนชาวพุทธในยุคปัจจุบัน”. บทความวิชาการ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๙ ฉบับ ๖ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๔) : ๒๖๕๖-๒๖๖๔.
เอกสารวิชาการ / Academic Papers
เอกสารวิชาการ / Academic Papers
– 2563, “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน”. บทความวิชาการ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๗ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๓.
– 2563, พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ และพระมหาชาติชาย ปญฺญาวชิโร, “บทบาทพุทธศิลปะในวิถีการด าเนินชีวิตของประชาคมอาเซียน”, วารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๕๙-๘๔
เอกสารประกอบการสอน/คำสอน
-รายวิชา วิสุทธิมัคคศึกษา (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๖๓) จำนวน ๓๒๑ หน้า.
-รายวิชา พุทธศิลปะ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๔๙๗ หน้า.
บริการสังคม / Social academic Service
ประวัติการทำงาน
-รก.รองผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มจร
-รองผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มจร.
-ประธานหลักสูตรวิปัสสนาภาวนา คณะพุทธศาสตร์ มจร
เกียรติคุณอื่นที่ได้รับ
พ.ศ. ๒๕๖๒ – รางวัลคชจักร ประเภทผู้ทำคุณประโยชน์ มีผลงานระดับ นานาชาติด้านส่งเสริมการอาเซียนดีเด่น จาสภาสื่อมวลชนเพื่อพระพุทธศาสนา (สพศ.) เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒.
พ.ศ. ๒๕๖๒ – รางวัลเกียรติคุณนานาชาติ Maha Nãga Awards 2019 ประเภทผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคมดีเด่น จากสมาคมสื่อสร้างสรรค์ (ส.ส.ส) ฯ เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒.
พ.ศ. ๒๕๖๔ – รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา “เสาเสมาธรรมจักร” ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ สาขา “การแต่งหนังสือทางพระพุทธศาสนา”
พ.ศ. ๒๕๖๔ – วุฒิบัตรพระธรรมทูต (พิเศษ) โครงการอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ ๒๗ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากวิทยาลัยพระธรรมทูตสายต่างประเทศ ณ อาคารหอประชุม มวก ๔๘ พรรษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยุธยา
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ศิษย์เก่าดีเด่นเกียรติคุณ (บรรพชิต) ด้านผลงานสร้างสรรค์ พร้อมผลงานวิชาการ พร้อมงานนวัตกรรมและเทคโนโลยี
พ.ศ. ๒๕๖๔ – รางสัลเสามาธรรมจักร สาขาการแต่งหนังสือพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๖๔