หัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา, ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ (วันเสาร์-วันอาทิตย์)

พระมหาขวัญชัย กิตฺฺติเมธี, ผศ.ดร.
สังกัด : วัดบพิตรพิมุข
สถานที่ทำงาน : ห้องศูนย์บัณฑิตศึกษา  ชั้น ๓
คณะพุทธศาสตร์ โซน D อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗๙ หมู่ที่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐

ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ :

ตำแหน่งทางบริหาร :
-หัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา
-ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ (เสาร์-อาทิตย์)

ตำแหน่งวิชาการ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผู้เชี่ยวชาญ :

การสอน :
อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา

ประวัติการศึกษาและการทำงาน

การศึกษาทางธรรม

เปรียญธรรม ๙ ประโยค

การศึกษาทางโลก

พธ.บ. (ปรัชญา) ม.มจร.
พธ.ม. (ปรัชญา) ม.มจร.
พธ.ด. (ปรัชญา) ม.มจร.

เชียวชาญ/Proficiency

ประสบการณ์ทางวิชาการ/Academic Experiences

บรรยายในระดับปริญญาตรี
   – ศาสนากับสถานภาพของสตรี
   – พระพุทธศาสนากับแนวคิดใหม่ทางศาสนา
   – พระพุทธศาสนามหายาน
   – แนวคิดใหม่ทางศาสนา
   – ภาษาศาสนา
   – พระพุทธศาสนากับศาสนาพราหมณ์ฮินดู
   – ปรัชญาเปรียบเทียบ
   – ปรัชญาวิเคราะห์
   – จริยศาสตร์ประยุกต์ 

บรรยายในระดับปริญญาโท
   – เปรียบเทียบความจริงสูงสุดในศาสนา
   – เปรียบเทียบทฤษฎีความรู้ในศาสนา
   – สัมมนาปัญหาปรัชญาศาสนา

บรรยายในระดับปริญญาเอก
   – ศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่
   – หลักการเสวนาทางศาสนา
   – ศาสนากับการพัฒนาสังคม
   – การใช้ภาษาบาลี ๑
   – การใช้ภาษาบาลี ๒

สิ่งตีพิมพ์ / Publication

หนังสือ

   – 2561, “หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงบนรากฐานคุณธรรม จริยธรรม”. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาพระวิทยากร, ๒๕๖๑. จำนวนหน้า ๑๖๐ หน้า.
   – 2564, พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี (เหมประไพ). ปัญหาปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิหยดธรรม. ๒๕๖๔. (จำนวน ๒๗๐ หน้า)
 2564, “ปรัชญาวิเคราะห์”. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิหยดธรรม. ๒๕๖๔.(จำนวน ๓๖๕ หน้า)

สิ่งตีพิมพ์ / Publication​ (Artical)

บทความวิจัยร่วม
   – “พุทธจริยธรรมกับแนวทางการแก้ปัญหาการอุ้มบุญ ในสังคมไทย”วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๖๒ (TCI ฐาน ๑). หน้า ๕๗๐-๕๘๔.

วิจัย / Research

บทความวิจัย
   -2565, พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี, ผศ.ดร. “มโนทัศน์เรื่องที่วัดตอบสนองความต้องการในชุมชนของสังคมไทย”. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๑(มกราคม – เมษายน ๒๕๖๕ (TCI ฐาน ๒): ๒๑-๕๓.
    -2565,พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี, ผศ.ดร. “พุทธทาสภิกขุ: การเปลี่ยนผ่านแนวคิดหลังสมัยใหม่ในพุทธศาสนาเถรวาท”.วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๕ (TCI ฐาน ๒): ๑๙-๔๒.
   -2563, พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี,ดร. “อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จังหวัดแม่ฮ่องสอน”. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓) (TCI ฐาน ๒). หน้า ๑-๑๔.
   – 2562, พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี, ดร.. “พุทธจริยธรรมกับแนวทางการแก้ปัญหาการอุ้มบุญในสังคมไทย”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๖๒ (TCI ฐาน ๑). หน้า ๕๗๐-๕๘๔.

เอกสารวิชาการ / Academic Papers

บทความวิชาการ
   – 2564, “การอธิบายหลักการแรกของธาเลสกับการอธิบายตัณหาของพุทธปรัชญา: ความเหมือนและความต่างในมิติวัฒนธรรมการแสวงหาความรู้”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔), (TCI ฐาน ๒) : ๑๓-๒๗.
   – 2564, “มโนทัศน์เรื่องสิทธิและเสรีภาพในพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๔), (TCI ฐาน ๒): ๘๐-๙๖.
    – 2564, “การอิบายความจริงปรมัตถ์ผ่านภาษาในพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๔), (TCI ฐาน ๒): ๑๐๙-๑๓๓.
    – 2563, “บทสนทนาเรื่องความดีตามทรรศนะพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๓), (TCI ฐาน ๒): ๑๔๙-๑๖๐.
    – 2563, “ทหารกับรูปแบบการสร้างความสงบในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓), (TCI ฐาน ๒): ๓๓-๔๓.
    – 2563, “พระพุทธศาสนากับปัญหาความรุนแรง: กรณีศึกษาจักกวัตติสูตร”. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓), (TCI ฐาน ๒): ๔๐๙-๔๒๓.
    – 2562, “การบูรณาการหลักธรรมาภิบาลเพื่อชีวิตที่ดีในสังคมไทยสมัยปัจจุบัน”. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๒), (TCI ฐาน ๒) : ๒๖๗-๒๘๔.
    – 2562, “แนวคิดเจตจำนงเสรีของฌองปอลซาร์ตร์กับบุคคลในฐานะสามีและภรรยาในพุทธปรัชญาเถรวาท”. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์.  ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๒), (TCI ฐาน ๒): ๖๑๓-๖๒๒.
     – 2561, “เงินกับคุณค่าทางจริยะ : กรณีพระภิกษุจับเงิน”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑): ๑-๑๕.

บริการสังคม / Social academic Service

ประวัติการทำงาน

เกียรติคุณอื่นที่ได้รับ

๒๕๖๔ รางวัลนักวิจัยดีเด่น ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ณ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน

เอกสารประกอบการสอน

๑. เอกสารประกอบการสอนวิชาปรัชญาพุทธมหายาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒. จำนวนหน้า ๒๖๗.

๒. .เอกสารประกอบการสอนวิชาสัมมนาปัญหาปรัชญาศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒. จำนวนหน้า ๒๒๗.

๓. เอกสารประกอบการสอนวิชาพุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. จำนวนหน้า ๒๕๑.

๔. เอกสารประกอบการสอนวิชาจริยศาสตร์ประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. จำนวนหน้า ๒๗๙.

คณะพุทธศาสตร์
Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.