หัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา
รศ.ดร.กฤต ศรียะอาจ
สถานที่ทำงาน : ภาควิชาศาสนาและปรัชญา ชั้น M
คณะพุทธศาสตร์ โซน D อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗๙ หมู่ที่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐๗๐
:
: 8323
:
ตำแหน่งทางบริหาร :
ผู้ช่วยอธิการบดีฝายบริการสังคม
ตำแหน่งวิชาการ :
รองศาสตราจารย์
ผู้เชี่ยวชาญ :
–
การสอน :
อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา
ประวัติการศึกษาและการทำงาน
การศึกษาทางธรรม
เปรียญธรรม ๔ ประโยค
การศึกษาทางโลก
-พธ.บ.(ปรัชญา),
-พธ.ม. (ปรัชญา),
-พธ.ด. (ปรัชญา) ม.มจร.
เชียวชาญ/Proficiency
ประสบการณ์ทางวิชาการ/Academic Experiences
บรรยายในระดับปริญญาตรี
– ปรัชญาเบื้องต้น
– ญาณวิทยา
– สัมมนาปัญหาปรัชญา
– ศึกษาอิสระทางปรัชญา
– ปรัชญาไทย
– ศาสนาเต๋ากับขงจื้อ
– พุทธศาสนากับขงจื้อ
– สัมมนาศาสนา
บรรยายในระดับปริญญาโท
– สัมมนาศาสนาเปรียบเทียบ
– เปรียบเทียบหลักจริยธรรมในศาสนา
บรรยายในระอับปริญญาเอก
– พระไตรปิฎกวิเคราะห์ชั้นสูง
– ศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่
สิ่งตีพิมพ์ / Publication
หนังสือ
-2563, กฤต ศรียะอาจ, ผศ.. ปรัชญาศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. (จำนวน ๓๑๓ หน้า).
สิ่งตีพิมพ์ / Publication (Artical)
วิจัย / Research
บทความวิจัย
-2565, พระราชรัตนาลงกรณ์, ดร.อธิเทพ ผาทา, ณัทธีร์ ศรีดี, กฤต ศรียะอาจ, “การออกแบบผังสิ่งแวดล้อมและแหล่งโบราณคดีในจังหวัดหนองคาย”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร (TCI 2). ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๕): ๑๒๐ – ๑๓๑.
-2562 ผศ.ดร.กฤต ศรียะอาจ, ผศ.ดร.ณัทธีร์ ศรีดี, พระศรีรัตโนบล, ดร. “การศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธจริยศาสตร์กับการประกอบอาชีพในสมัยพุทธกาล”. วารสาร มหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ ๖ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒. (TCI 1). ISSN : 2408-1078. (กองวิชาการ สำนักงานอธิการบดี: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒): ๑ – ๑๑.
เอกสารวิชาการ / Academic Papers
บทความวิชาการ
-2564, พระเนติธร มหาปุญฺโญ, พระศรีศาสนบัณฑิต, กฤต ศรียะอาจ. “การศึกษาเปรียบเทียบหน้าที่นักปกครองในจักกวัตติสูตรในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับคัมภีร์หลุนอวี่ในศาสนาขงจื๊อ”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ISSN: 2773-983X (Online). ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๔) : ๘๑ – ๙๒.
-2561, กฤต ศรียะอาจ, ผศ. “ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องตรีภาวะสัมพันธ์ในปรัชญาของคานธี”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม. ISSN: ๒๔๐๘-๑๐๗๘. (กองวิชาการ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๑): ๕๓-๖๒.
บริการสังคม / Social academic Service
ประวัติการทำงาน
-ผู้ประสานงานหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ
-หัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา
เกียรติคุณอื่นที่ได้รับ
–๒๕๖๔ รางวัลเสาเสมาธรรมจักร ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา