อาจารย์ประจำ

พระจาตุรงค์ อาจารสุโภ, ดร.

สถานที่ทำงาน : ภาควิชาศาสนาและปรัชญา ชั้น M

คณะพุทธศาสตร์ โซน D อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗๙ หมู่ที่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐

:

: 8323

ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ :

ตำแหน่งทางบริหาร :

ตำแหน่งวิชาการ :

ผู้เชี่ยวชาญ :

การสอน :
อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา

ประวัติการศึกษาและการทำงาน

การศึกษาทางธรรม

   -นักธรรมเอก
   -เปรียญธรรม ๑-๒ ประโยค

การศึกษาทางโลก

   -พธ.บ. (สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มจร ๒๕๕๒
   -พธ.ม. (สาขาวิชาปรัชญา) มจร ๒๕๕๓
  -พธ.ด. (สาขาวิชาปรัชญา) มจร ๒๕๕๗.

เชียวชาญ/Proficiency

ประสบการณ์ทางวิชาการ/Academic Experiences

บรรยายในระดับปริญญาตรี
    – แนวคิดใหม่ทางศาสนา
    – พระพุทธศาสนากับปรัชญา
    – ศาสนากับคนรุ่นใหม่
    – จริยศาสตร์ประยุกต์
    – ปรัชญากับศาสนา
    – จริยศาสตร์
    – สุนทรียศาสตร์
    – จริยศาสตร์
    – สุนทรียศาสตร์ 

บรรยายในระดัปริญญาโท
    – สัมมนาวิทยานิพนธ์
    – เปรียบเทียบหลักจริยธรรมในศาสนา
    – พัฒนาการแนวคิดทางศาสนา

บรรยายในระดับปริญญาเอก
    – ศาสนากับการพัฒนาสังคม
    – ศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่
    – สัมมนาดุษฎีนิพนธ์
    – สัมมนาปัญหาศาสนาในปัจจุบัน
    – พัฒนาการแนวคิดใหม่ทางศาสนา
    – หลักการสานเสวนาทางศาสนา

สิ่งตีพิมพ์ / Publication

สิ่งตีพิมพ์ / Publication​ (Artical)

วิจัย / Research

บทความวิจัย
    – พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ, พระจาตุรงค์ อาจารสุโภ, พระถนัด วฑฺฒโน, สุมาลัย กาญจนะ. “ปรัชญาความขัดแย้ง”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๑): ๒๘๔-๒๙๒. TCI กลุ่ม ๑

เอกสารวิชาการ / Academic Papers

บทความวิชาการ
    -2565, พระจาตุรงค์ ชูศรี, พระมหาสราวุธ โพธิ์ศรีขาม, พระมหาดวงทิพย์ ปริยตฺติธารี. “ประโยชน์จากการเผยเเผ่ธรรมะออนไลน์ขององค์การธรรมเป็นทีมสากล” วารสารสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๕) : ๑-๑๓.
   – 2565, พระมหาสราวุธ โพธิ์ศรีขาม, พระจาตุรงค์ ชูศรี. “ความหลากหลายด้านสถาปัตยกรรมในยุคสุโขทัย: เจดีย์ทรงระฆังและทรงพุ่มข้าวบิณฑ์, ธรรมธารา”. วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (ฉบับรวมที่ ๑๔) ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๒๐๒๒): (ฉบับรวมที่ ๑๔) มกราคม – มิถุนายน : ๑๕๗-๒๑๒. (TCI ฐาน ๑)
    -2564, พระมหาสราวุธ โพธิ์ศรีขาม, พระจาตุรงค์ ชูศรี, พระปลัดบุญช่วย ฐิตจิตโต (ยังสามารถ). “การปฏิเสธอัตตาของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎก”. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔) : ๑๑๘-๑๓๖. (TCI ฐาน ๒)
    – 2564, พระจาตุรงค์ ชูศรี,ดร. “จริยศาสตร์”. วารสารสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๔) : ๔๘-๕๖.
    – 2564, พระจาตุรงค์ อาจารสุโภ. “คุณวิทยา : คุณค่าคืออะไร? วาทกรรมว่าด้วยความจริง ความดีและความงาม”.  วารสารชัยภูมิปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๔): ๓๑-๓๗.
    – 2563,“วิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ล”. วารสารวิจัยธรรมศึกษา ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓) : ๑-๙. TCI กลุ่ม ๒ 
    – 2563, “สุนทรียศาสตร์อุโบสถวัดร่องขุ่น”. วารสารสังคมศึกษา มมร สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓), หน้า ๓๙ -๕๐. 
    – 2562, “การทำความเข้าใจความทุกข์โดยการทำความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์”. วารสารพุทธมัคค์. ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๒๐-๓๐. 
    – 2562, “เรื่องไร้สาระในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒): ๑-๗. 
     – “การอ้างสิทธิในการฆ่าตัวตายกับหลักกรรมในพระพุทธศาสนา”. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๒): ๑๖-๒๙.
    – “การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีเมตตาโดยการคบคนดี”. วารสารพุทธมัคค์. ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา  สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒):๒๗-๓๗. TCI กลุ่ม ๒
    – _______. “ข้อยืนยันสาระสำคัญของอภิปรัชญาเชน”. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒): ๑-๘. TCI กลุ่ม ๒
    – “การเข้าใจชีวิตบนพื้นฐานแนวคิดเรื่องธาตุ ๑๘”. วารสารพุทธมัคค์. ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา  สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑): ๓๒-๓๘. TCI กลุ่ม ๒ 
    – “ธรรมชาติความแตกแยกของมนุษย์บนรากฐานแนวคิดเรื่องธาตุ”. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑): ๘๙ – ๙๘. 

บริการสังคม / Social academic Service

ประวัติการทำงาน

เกียรติคุณอื่นที่ได้รับ