อาจารย์ประจำ

ผศ.ดร.แสวง  นิลนามะ

สถานที่ทำงาน : ภาควิชาศาสนาและปรัชญา ชั้น M

คณะพุทธศาสตร์ โซน D อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗๙ หมู่ที่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐

:

: 8323

ตำแหน่งทางบริหาร :

ตำแหน่งวิชาการ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผู้เชี่ยวชาญ :

การสอน :
อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา

ประวัติการศึกษาและการทำงาน

การศึกษาทางธรรม

เปรียญธรรม ๗ ประโยค

การศึกษาทางโลก

   -พธ.บ.(ปรัชญา) ม.มจร.
   -พธ.ม.(ปรัชญา) ม.มจร.
   -พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) ม.มจร.

เชียวชาญ/Proficiency

ประสบการณ์ทางวิชาการ/Academic Experiences

บรรยายในระดับปริญญาตรี
   – ศาสนาทั่วไป
   – ปรัชญาเบื้องต้น
   – พระพุทธศาสนามหายาน
   – สานเสวนาทางศาสนา

บรรยายในระดับปริญญาโท
   – เปรียบเทียบความจริงสูงสุดในศาสนา
   – เปรียบเทียบทฤษฎีความรู้ในศาสนา
   – เปรียบเทียบหลักจริยธรรมในศาสนา
   – สัมมนาศาสนาเปรียบเทียบ

บรรยายในระดับปริญญาเอก
   – ศาสนากับการพัฒนาสังคม
   – เปรียบเทียบการตีความคัมภีร์ในศาสนา
   – รูปแบบความเชื่อในศาสนา

สิ่งตีพิมพ์ / Publication

หนังสือ
   – พระธรรมวชิรมุนี วิ., รศ. ดร. และ ผศ. ดร.แสวง นิลนามะ. ความจริงสูงสุดในศาสนา : หลักการศึกษาและเปรียบเทียบประเด็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕. (จำนวน ๓๒๖ หน้า).

สิ่งตีพิมพ์ / Publication​ (Artical)

วิจัย / Research

บทความวิจัย
   – พระธรรมวชิรมุนี, อธิเทพ ผาทา, ผศ. ดร. แสวง นิลนามะ และคณะ. “การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ผังสิ่งแวดล้อมและแหล่งโบราณคดีในจังหวัดหนองคาย”. วารสาร มจร พุทธศาสตรปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๖ (TCI-2) : ๒๘ – ๔๐.
   – แสวง นิลนามะ, พระธรรมวชิรมุนี วิ., รศ. ดร. “แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในยุคปัจจุบัน”. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโสปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๔) : ๑๒๖ – ๑๔๐.

 

เอกสารวิชาการ / Academic Papers

บริการสังคม / Social academic Service

ประวัติการทำงาน

-หัวหน้าภาควิชาศาสนาเปรียบเทียบ
-ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ

เกียรติคุณอื่นที่ได้รับ

คณะพุทธศาสตร์
Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.